เชิญร่วมเสวนาวิชาการด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม กฎหมาย และสังคม เพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หัวข้อ “การฟื้นฟูชีวิตและลำห้วยคลิตี้จากการปนเปื้อนสารตะกั่วฯ"

          ขอเชิญเข้าร่วมเสวนา วิชาการด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม กฎหมาย และสังคม เพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หัวข้อ “การฟื้นฟูชีวิตและลำห้วยคลิตี้จากการปนเปื้อนสารตะกั่ว: สถานการณ์ปัจจุบันและบทเรียนจากต่างประเทศ สู่การจัดการที่เหมาะสมกับประเทศไทย และประเทศในภูมิภาคอาเซียน” ระหว่างวันที่ 24-25 กรกฎาคม 2557 ที่ มหาวิทยาลัยนเรศวร
 
โครงการเสวนาวิชาการด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม กฎหมาย และสังคม เพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน1

กำหนดการโครงการ

“โครงการเสวนาวิชาการด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

หัวข้อ “การฟื้นฟูชีวิตและลำห้วยคลิตี้จากการปนเปื้อนสารตะกั่ว: สถานการณ์ปัจจุบันและบทเรียนจากต่างประเทศ

สู่การจัดการที่เหมาะสมกับประเทศไทย และประเทศในภูมิภาคอาเซียน”

จัดโดย

สถานความเป็นเลิศเพื่อความยั่งยืนด้านสุขภาวะ สิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรม

คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร

หน่วยวิจัยเชิงบูรณาการด้านการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนและการนำทรัพยากรธรรมชาติกลับมาใช้ใหม่

คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร

สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ

บริษัท TESC ประเทศไต้หวัน

 

24 กรกฎาคม 2014
ห้องสัมมนาเอกาทศรถ 301 ตึกเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก

เวลา กิจกรรม
09.00-09.30 กล่าวเปิดประชุมโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ
09.30-10.20 ประวัติการปนเปื้อนลำห้วยคลิตี้: การรั่วไหล การปนเปื้อน การฟ้องร้อง และสิทธิชุมชน
โดย ผู้แทนมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม และผู้แทนชุมชนหมูบ้านคลิตี้ล่าง
10.20-11.10 ผลกระทบต่อสุขภาพจากการปนเปื้อนสารตะกั่วในลำห้วยคลิตี้: อดีต สู่ ปัจจุบัน
โดย พญ.ดร.ฉันทนา ผดุงทศ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณะสุข
11.10-12.00 ทางเลือกการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนสารตะกั่ว: กรณีศึกษาลำห้วยคลิตี้
โดย ผู้แทนจากกรมควบคุมมลพิษ ผู้แทนจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น และผู้แทนจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-13.50 ทางเลือกการฟื้นฟูลำห้วยและแม่น้ำปนเปื้อนสารอันตรายโดยการครอบตะกอน: กรณีศึกษาการปนเปื้อนสาร PCBs ในประเทศสหรัฐอเมริกา (บรรยายภาษาอังกฤษ แปลไทย)
โดย ศาสตราจารย์ ดร. Gregory V. Lowry
รองผู้อำนวยการ Center for Environmental Implications of Nanotechnology, Carnegie Mellon University, Pittsburgh, ประเทศสหรัฐอเมริกา
13.50-14.40 16 ปีของการปนเปื้อนตะกั่ว: ลำห้วยคลิตี้ได้เปลี่ยนแปลงหางแร่ปนเปื้อนตะกั่วไปอย่างไรบ้าง?
โดย ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์
รองผู้อำนวยการ สถานความเป็นเลิศเพื่อความยั่งยืนด้านสุขภาวะ สิ่งแวดล้อม และ อุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร
14.40-15.30 จะฟื้นฟูลำห้วยคลิตี้อย่างไรได้บ้าง?มุมมองจากประสบการณ์ของไต้หวัน (บรรยาย ภาษาอังกฤษ แปลไทย)
โดย Tracey Hsu
Taiwan Environment Scientific Corporation (TESC), ไต้หวัน
15.30-16.00 เวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดำเนินการโดย ดร.ชยาวีร์ หวังเจริญรุ่ง
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

25 กรกฎาคม 2014
ห้องสัมมนาเอกาทศรถ 301 ตึกเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก

เวลา กิจกรรม
09.00-15.00 เวทีเสวนาเปิด: ยิ่งไปกว่าการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม เราจะฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของชุมชนที่ ได้รับผลกระทบจากการปนเปื้อนสารอันตรายได้อย่างไร? กรณีศึกษาการปนเปื้อน  ลำห้วยคลิตี้ จังหวัดกาญจนบุรี การปนเปื้อนแคดเมียม จังหวัดตาก การปนเปื้อน จากเหมืองทอง จังหวัดพิจิตร และ จังหวัดเลย

ดำเนินการโดย ผู้แทนสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย15.00 – 15.30ปิดการประชุม
 
 

Tentative Program

  “Cleaning up Klitty Creek: Current Situation and Lesson Learnt from Other Countries”

 Organized by

 Center of Excellence for Sustainability of Health, Environment, and Industry (SHEI), Faculty of Engineering, Naresuan University

 Chulalongkorn University Social Research Institute (CUSRI)

 Enlaw Foundation

 Pollution Control Department (PCD), Ministry of Natural Resources and Environment

 

24 July 2014
Room 301 Ekathotsarot Building Naresuan University, Phitsanulok

Time Activities
09.00-09.30 Opening Remark by the President of Naresuan University, the Director of Chulalongkorn University Social Research Institute (CUSRI), and the General Director of Pollution Control Department
09.30-10.20 the Legend of Klitty: Contamination, Lawsuite, and Community Right (in Thai)
by Enlaw Foundation Representative and Klitty Villagers
Enlaw Foundation
10.20-11.10 Legacy of Health Impact from Klitty Creek Contamination
by Chantana Padungtod
Department of Disease Control, Ministry of Public Health, Thailand
11.10-12.00 Remediation Options for Lead Contamination Site: Klity Creek Case Study (in Thai)
by Representative of Pollution Control Department, Konkean 
University and Chulalongkorn University
12.00-13.00 Lunch Break
13.00-13.50 Sediment Capping as an Alternative for Sediment Remediation: PCB

Case Study in the United States (in English with Thai Translation)
by Dr. Gregory V. Lowry
Professor of Civil and Environmental Engineering and Deputy Director of Center for Environmental Implications of Nanotechnology, Carnegie Mellon University, Pittsburgh, USA13.50-14.4016 Years of Lead Contamination: How has Klitty Creek transformed Lead Contaminated Mine Tailing?
by Dr. Tanapon Phenrat
Deputy Director of Center of Excellence for Sustainability of Health, Environment, and Industry (SHEI), Faculty of Engineering, Naresuan University, Thailand14.40-15.30How to Restore Klitty Creek: Taiwanese Perspective (in English with Thai Translation)
by Tracey Hsu
Taiwan Environment Scientific Corporation (TESC), Taiwan15.30-16.00Q&A
Facilitated by Dr. Chayawee Wangcharoenrung
Pollution Control Department (PCD), Thailand

25 July 2014
Room 301 Ekathotsarot Building Naresuan University, Phitsanulok

Time Activities
09.00-15.00 Beyond Cleaning up the Environment; How to Restore Quality of Life of Villagers?
Learning from Japan and Thailand : Minamata, Japan and Klitty (Lead mine), Mae Tao (Zinc mine) and Ban Khao Mo (Gold mine),Thailand Round Table (Thai and Japanese)
Facilitate by Chulalongkorn University Social Research Institute (CUSRI)

15.00 – 15.30Closing Remark

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่  http://web.eng.nu.ac.th/eng2012/AEC-Program/index.html

โครงการเสวนาวิชาการด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม กฎหมาย และสังคม เพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2
 

ข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
ติดตามเราในช่องทาง Social
ข่าวสารล่าสุด